Common Patterns of Clinical Motor Dysfunctions (LE)
1. Equinovarus      กล้ามเนื้อมัดที่มีการหดเกร็งได้แก่ tibialis anterior,  tibialis posterior, long toe flexors, medial and lateral gastrocnemius, soleus, extensor hallucis longus, peroneus longus
    พบบ่อยที่สุดมักพบ toe curling หรือ toe clawing ร่วมด้วย เมื่อนอนหรือนั่งด้านขวาของเท้าจะเสียดสีกับ
เบาะ  ขอบเตียง พื้น  foot pedal ของ wheelchair
ทำให้เกิดแผลถลอกที่ fifth metatarsal head ในช่วง
stance phase   พบว่า forefoot จะแตะพื้นก่อน    น้ำหนักจะตกที่ด้านข้างของเท้าและมีนิ้วเท้างอจิก
ผู้ป่วยจะปวดที่ fifth metatarsal head เมื่อเดินลง
น้ำหนัก
2. Valgus foot   กล้ามเนื้อที่มีการหดเกร็ง ได้แก่ peroneus longus และ peroneus brevis  gastrocnemius soleus
     อาจพบ toe flexion ร่วมด้วย ผู้ป่วยจะปวดที่
medial border of foot
3. Striatal Toe หรือ Hitchhiker's Great Toe
    กล้ามเนื้อที่มีการหดเกร็งคือ extensor hallucis
longus (EHL)
    มีการกระดกขึ้นของ great toe  เหมือน  positive Babinski response  ผู้ป่วยจะมีปัญหาในการใส่รองเท้า  ปวดที่ปลายนิ้วและใต้ first metatarsal head ขณะ
stance phase
4. Stiff Knee   กล้ามเนื้อมัดที่มีการหดเกร็งได้แก่ iliopsoas, gluteus maximus, rectus femoris,vastus
intermedius, vastus medialis, vastus lateralis,
hamstings
    ผู้ป่วยจะนั่งเก้าอี้หรือรถเข็นโดยงอเข่าไม่ได้ ทำให้ขา
เหยียดออกไปตลอดเวลา และปัญหาช่วง swing phase
ขณะเดินผู้ป่วยจะ compensate โดย ipsilateral
circumduction, hiking of the pelvis, contralateral
vaulting มีการใช้พลังงานในการเดินมากขึ้น 
5. The Flexed Knee  กล้ามเนื้อมัดที่มีการหดเกร็ง
ได้แก่ medial and lateral hamstrings และ
guadriceps
    มีปัญหาช่วง swing phase ผู้ป่วยจะ compensate
โดย ipsilateral hip flexion and contralateral hip
and knee flexion (crouch gait pattern)
6. Excessive Hip flexion กล้ามเนื้อมัดที่มีการหดเกร็ง ได้แก่ iliopsoas, rectus femoris,
pectinius
     ทำให้ผู้ป่วยมีปัญหาในการนั่ง นอน การทำความสะอาดบริเวณ perineum การมีเพศสัมพันธ์
และการเดิน ผู้ป่วย paraplegia ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็งที่ถูกกระตุ้นโดย somatic และ visceral
afferents inputs จะทำให้มีการหดเกร็งของ hip flexors, knee flexors, ankle dorsiflexor 
โดย flexor relfex afferent activity จะ  ascend และspread ภายในไขสันหลัง จากระดับ sacral, lumbar ไปยังระดับ thoracic และมี abdominal muscles หดเกร็งร่วมด้วย  พบภาวะ urinary incontinence ได้จากผลโดยตรงของ afferent 
spread   ไปยัง bladder centers ที่ระดับ sacral หรือผลโดยอ้อมจากการเพิ่ม  intraabdominal pressure ที่ระดับ thoracic flexor spasms จะพบมากในผู้ป่วย multiple sclerosis หรือ spinal
cord injury ซึ่งจะพบร่วมกับ adductor spasm
7.Adducted thigh  กล้ามเนื้อมัดที่มีการหดเกร็งได้แก่  adductor longus และ adductor brevis, adductor magnus และ gracilis  จะมีการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ  iliopsoas และ pectineus
     ผู้ป่วยจะมีลักษณะการเดินแบบ scisorring gait  จะรบกวนการทำความสะอาด  การแต่งตัว การมีเพศสัมพันธ์  การนั่ง  การย้ายลำตัว  การยืนและการเดิน