GASTROESOPHAGEAL
REFLUX (GER)
8.
|
Carre
IJ. The Natural history of the partial thoracic stomach
("hiatal hernia") in children. Arch Dis Child
1959; 34:344-353.
|
เป็นความผิดปกติของ esophagus และ lower esophageal sphincter ที่สำคัญที่สุดในเด็กทารก
มักจะพบภาวะนี้ได้ชัดภายในอายุ 2 เดือน ส่วนใหญ่จะหายเองได้ภายใน 1
ปี แต่มีในบางรายที่เป็นไปจนโต จาก study ของ Carre
(
8 ) พบว่า ผู้ป่วย 60% จะหายภายในอายุ 18
เดือนแต่ 30% ยังมีอาการอยู่จนกระทั่งอายุ 4 ปีเป็นอย่างต่ำ ซึ่งถ้าไม่รักษาจะเกิด
complication ตามมาได้ประมาณ 10% พบว่าเด็กที่มี GER อาจมาพบแพทย์
9.
|
Berquist
WE, Rachelefsky GS, Kadden M, et al. Gastroesophageal
reflux associated recurrent pneumonia and chronic asthma
in children. Pediatrics 1981; 68: 29-35.
|
10.
|
Herbst
JJ, Minton SD, Book LS. Gastroesophageal reflux causing
respiratory distress and apnea in newborn infants. J Pediatr
1979; 95: 763-768.
|
11.
|
Malfroot A, Vandenplas Y, Verlinden M, et al. Gastroesophageal
reflux and unexplained chronic respiratory disease in
infants and children. Pediatr Pulmonol
1987; 3: 208-213.
|
ด้วยการไม่เจริญเติบโต
(failure to thrive) ซึ่งเกิดจากการอาเจียนบ่อยๆ, esophagitis และ
esophageal stricture ส่วน anemia เกิดจาก chronic blood loss นอกจากนี้อาจมาด้วย
recurrent respiratory infection, asthma, sudden infant-death syndrome
(
9,10,11 ) ดังนั้นเด็กที่มาด้วยอาการเหล่านี้และหาสาเหตุอื่นไม่ได้
จะต้องทำการตรวจหา GER ด้วย |
ในปัจจุบันมีวิธีการทดสอบหา
reflux
12.
|
Williams
SE, Freeman M. Milk inhalation pneumonia: the isgnificance
of fat filled macrophage in tracheal secretions. Aust
Pediatr J 1973; 9: 286.
|
หลายวิธี
ทั้งโดยทางตรงเช่น upper GI study และ 24-hour pH metry และโดยทางอ้อมเช่น
manometry, endoscopy และ biopsy ส่วนการดูว่ามี aspiration ร่วมด้วยหรือไม่
อาจใช้ ดูจาก upper GI study หรือหา lipid-laden macrophage ใน tracheal
aspirate(
12 ) ซึ่งในแต่ละวิธีก็มีข้อดีข้อเสียแตกต่างกัน เช่น
upper GI study จะทำเพื่อหาความผิดปกติ ทางกายวิภาค
13.
|
Cleveland
RH, Kushner DC, Schwartz AN. Gastroesophageal reflux in
children: results of a standardized fluoroscopic approach.
Am J Radiol 1983; 141: 52-56.
|
14.
|
Siebert JJ, et al. Gastroesophageal reflux: the acid test.
Scintigraphy or the pH probe? Am J Radiol 1983; 140:1087-1090.
|
ที่เป็นสาเหตุของ
GER เช่น hiatal hernia, esophageal stricture, atypical pyloric stenosis,
duodenal web, gastric web และใช้ดู severity ของ GER แต่มีข้อจำกัดในด้านความจำเพาะกล่าวคือ
ผู้ป่วยที่ไม่มี GER อาจพบว่า upper GI study ให้ผลบวกได้
( 13,14 ) , และเนื่องจากการตรวจจะเห็นภาพไม่ต่อเนื่องจึงอาจพลาดการวินิจฉัยในบางระยะได้
นอกจากนี้อาหารที่ให้กินเป็น barium จึงถือว่าไม่ physiologic และยังไม่สามารถหา
gastric emptying ได้
15. |
Heyman
S. Gastroesophageal reflux, esophageal transit, gastric
emptying, and pulmonary aspiration. In Treves ST (ed): Pediatric
nuclear medicine. New York: Springer-Verlag, 1994: 430-452. |
(
15 ) ส่วนการทำ 24-hour pH metry
16.
|
Majd
M. Radionuclide imaging in pediatrics. Pediat Clin North
Am 1985; 32: 1559-1579.
|
ซึ่งเป็นการดูการลดลงของ pH ซึ่งถือเป็นวิธี gold standard นั้นมีข้อเสีย
17.
|
Piepsz
A. Recent advances in pediatric nuclear
medicine. Semin Nucl Med 1995; 25: 165-182.
|
บางอย่างคือ
เป็นวิธีการที่ invasive และมักต้องนอนโรงพยาบาลเพื่อ monitor (
16 ) , ถ้ามีกรดติดอยู่ที่ probeจากการ reflux เพียงเล็กน้อย
และอาจทำให้เข้าใจว่าเป็นการ reflux เป็นระยะเวลานานได้ นอกจากนี้ในเด็กที่กินนมเสร็จใหม่ๆ
จะใช้ pH monitoring ไม่ดีเพราะนมจะ buffer ทำให้ pH สูงขึ้น
( 17 ) , ถ้าเป็น reflux สั้นๆ อาจตรวจไม่พบ เพราะจะเก็บข้อมูลทุก
7.5 วินาทีจึงมีการนำเอาวิธีการทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์มาใช้เป็น screeing
test
( 18 ) ในเด็ก เพราะมีข้อดีหลายอย่าง เช่น อาหารที่ให้เป็น
physiologic, การตรวจทำง่าย ไม่ invasive และ sensitive เพราะสามารถที่จะ
monitor ได้
18.
|
Davies
RP, Morris LL, Svage JP, Davidson GP. Gastro-oesophageal
reflux: the role of imaging in the diagnosis and management.
Australas Radiol 1987; 31: 157-163.
|
ตลอดเวลาและทำการตรวจได้นาน
(
19 ) |
19.
|
Seibert
JJ, Williamson SL. Gastrointestinal scintigraphy. In Miller
JH, Galfand MJ. Pediatric nuclear medicine. Philadelphia: W.B.
Saunders, 1994.
|
|