GASTROINTESTINAL
BLEEDING
การเลือกใช้วิธีการตรวจหาสาเหตุของ
lower GI bleeding ในเด็กขึ้นกับ 1.) อายุ 2.) severity ของ bleeding
และ 3.) ลักษณะของอาการและอาการแสดง โดยอายุเป็นตัวบ่งที่สำคัญที่สุด
ในการวินิจฉัยแยกโรค ดังรูปที่ 8, รูปที่ 9, รูปที่ 10 |
|
รูปที่
8 แนวทางการวินิจฉัยแยกโรค gastrointestinal bleeding
ใน newborn
|
[Reprinted
from Seibert JJ, Williamson SL. Gastrointestinal scintigraphy. In:
Miller JH, Gelfand MJ (eds): Pediatric Nuclear Imaging. Philadelphia:
W.B. Saunders, 1994:167] |
|
รูปที่
9 แนวทางการวินิจฉัยแยกโรคในเด็ก 1 เดือน ถึง 2
ปี
|
[Reprinted
from Seibert JJ, Williamson SL. Gastrointestinal scintigraphy. In:
Miller JH, Gelfand MJ (eds): Pediatric Nuclear Imaging. Philadelphia:
W.B. Saunders, 1994:168] |
|
รูปที่10
แนวทางการวินิจฉัยแยกโรคในเด็กอายุมากกว่า
2 ปี
|
[Reprinted
from Seibert JJ, Williamson SL. Gastrointestinal scintigraphy. In:
Miller JH, Gelfand MJ (eds): Pediatric Nuclear Imaging. Philadelphia:
W.B. Saunders, 1994:168] |
จะเห็นได้ว่าเวชศาสตร์นิวเคลียร์จะมีบทบาทในการช่วยวินิจฉัย
lower GI bleeding ในเด็กตั้งแต่อายุประมาณ 1 เดือนขึ้นไป ในกรณีที่มี
massive lower GI bleeding ที่ใส่ nasogastric tube lavage แล้วไม่มีเลือด
โดยมีการตรวจอยู่ 2 ประเภทด้วยกัน คือ การตรวจหาตำแหน่งของเลือดที่ออก
โดยใช้ gastrointestinal bleeding scintigraphy และ การตรวจหาสาเหตุของเลือดที่ออกว่ามาจาก
ectopic gastric mucosa หรือไม่ โดยใช้ Meckel's scintigraphy |
สำหรับในผู้ใหญ่
จะใช้วินิจฉัยตำแหน่งที่มีเลือดออก โดยเฉพาะในกลุ่มที่เป็น lower GI
bleeding ซึ่งอาจมาด้วยถ่ายดำ หรือถ่ายเป็นเลือดสดก็ได้ |